ตัวอย่าง ภาษี ซื้อ - ภาษีซื้อต้องห้าม คืออะไร ตัวอย่าง เช่น รถยนต์ ค่ารับรอง และอีกมากมาย

สำเริง ได้รับ CD - 2 แล้วครับ แต่เนื้อหา เหมือนที่มีแจก ใน wep ครับ แต่จริงอยากได้ การทำประวัติ ฝึกอบรมมากกว่า ครับ เพราะตอนนี้ เขียนบันทึกลง ในกระดาษ สืบค้นยากครับ ขอคำชี้แนะ ครับผม ขอบคุณมากครับ __________ Information from ESET NOD32 Antivirus, version of virus signature database 6111 (20110510) __________ The message was checked by ESET NOD32 Antivirus. Samroeng unread, May 11, 2011, 3:57:08 AM 5/11/11 to เรียน คุณทวีสิน ได้ลองเปิดดูในโฟลเดอร์ 217-Training Record System หรือยังครับ ผมว่า ผมยังไม่ได้เอาเนื้อหาขึ้นเว็บนะ ในเว็บมีแค่เกริ่นๆ ยังไม่เป็นชิ้นเป็นอันเลย ส่วนในโฟลเดอร์ดังกล่าวนั้น สามารถใช้งานได้เลยในระดับหนึ่ง ซึ่งถ้าต้องการต่อยอด ก็น่าจะได้แนวทางบ้างแล้วครับ อ. สำเริง ทวีสิน จุ้ยเริก unread, May 11, 2011, 4:52:23 AM 5/11/11 to เรียน ดู 217 training แล้ว ครับ ถูกใจมากเลยครับอาจรย์ ใช่ที่ต้องการ แต่ขอถาม 1 ข้อครับ เอารูป เข้าไปใน coment อย่างไร ครับ ขอบพระคุณมากครับ ----- Original Message ----- Sent: Wednesday, May 11, 2011 8:57 AM Subject: Re: [Excel4HR::1582] ไฟล์รายงานภาษีซื้อ-ภาษีขาย และแบบ ภพ.

ตัวอย่างภาษีซื้อ

สามารถเข้าชมได้ที่นี่เลยครับ > กรณีตัวอย่างภาษีซื้อต้องห้าม Cr. ด้วยครับ 1. ภาษีซื้อต้องห้าม กรณีไม่มีใบกำกับภาษี หรือเอกสารที่แสดงให้เห็นว่าได้มีการเสียภาษีซื้อ ยกเว้นเป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่อธิบดีกำหนด ดันนี้ 1. 1 ใบกำกับภาษีถูกทำลายด้วยเหตุสุวิสัย เช่นไฟไหม้ น้ำท่วม แต่จะต้องมีหลักฐานทางราชการแสดงให้เห็นว่าเกินขึ้นจริงๆ 1. 2 ผู้ขายไม่สามารถขอใบแทนใบกำกับภาษีได้ เนื่องจากเหตุสุดวิสัย 2. กรณีที่ใบกำกับภาษีมีข้อความไม่ถูกต้องตามสาระสำคัญ ที่อธิบดีกำหนด 3. ภาษีซื้อที่ไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการประกอบกิจการตามหลักเกณฑ์ที่อธิบดีกำหนด ยกตัวอย่าง เช่น บริษัทซื้อของไปบริจาคแก่บ้านพักคนชรา ภาษีซื้อไม่สามารถนำมาหักภาษีขายในการคำนวณภาษีได้ เนื่องจากภาษีซื้อที่เกิดขึ้นไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการประกอบกิจการ 4. ภาษีซื้อที่เกิดจากรายจ่ายเพื่อรับรอง ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่อธิบดีกำหนด ดังนี้ 4. 1 ค่ารับรอง หรือค่าบริการต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากการรับรอง เช่น ค่าอาหาร เครื่องดื่ม ที่พัก และค่าอื่นๆ ในทำนองเดียวกัน 4. 2 สิ่งของหรือสิทธิประโยชน์ที่ให้แก่บุคคลที่ได้รับการรับรอง เช่น บริษัทได้ส่งบัตรอวยพรและกระเช้าของขวัญ หรือสิ่งของจับฉลากสำหรับลูกค้า โดยบริษัทได้คิดถึงผลประโยชน์ที่จะเพิ่มยอดขาด ภาษีซื้อที่เกิดขึ้นไม่สามารถนำมาหักออกจากภาษีขายได้ 5.

ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีซึ่งออกให้โดยผู้ที่ไม่มีสิทธิออกใบกำกับภาษี คือผู้ที่ไม่ได้จดภาษีมูลค่าเพิ่ม ที่เรียกว่า ภพ. 20 6. ภาษีซื้อที่อธิบดีกำหนดไม่ให้นำมาหักออกจากภาษีขาย 6. 1 ภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อ เช่าซื้อ เช่า หรือรับโอนรถยนต์นั่งและรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน รวมทั้งภาษีซื้อสำหรับสินค้าหรือบริการที่เกี่ยวข้องกับรถยนต์ดังกล่าว เช่นค่าซ่อม ค่าน้ำมัน เป็นต้น 6. 2 ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีอย่างย่อ 6. 3 ภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อสินค้า หรือรายจ่าย เพื่อใช้ในกิจการที่ไม่ต้องเสียภาษี 6. 4 ภาษีซื้อที่เกิดจากการก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์ เพื่อใช้ในกิจการที่ต้องเสียภาษีและต่อมาได้ขายให้กิจการที่ไม่ต้องเสียภาษีภายใน 3 ปี นับจากเดือนภาษีที่ก่อสร้างเสร็จ 6. 5 ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษี ซึ่งไม่มีคำว่า "ใบกำกับภาษี" 6. 6 ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษี ที่ไม่ได้จัดทำขึ้นตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เช่น ไม่มี สาขาที่ออกใบกำกับภาษี หรือหากเป็นใบกำกับภาษีจากการเติมน้ำมัน ต้องมีทะเบียนรถไว้บนใบกำกับ 6. 7 ใบกำกับภาษีซื้อ ที่ไม่ใช่ "ต้นฉบับใบกำกับภาษี" 6. 8 ภาษีซื้อส่วนที่เฉลี่ยของกิจการประเภทที่ไม่ต้องเสียภาษีซึ่งได้คำนวณตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขของกรมสรรพากร 6.

กรณีการเฉลี่ยภาษีซื้อทั่วไป หรือ เฉลี่ยภาษีซื้อตามส่วนของรายได้ โดยการประมาณการสัดส่วนของรายได้ที่จะเกิดขึ้นทั้งปี แล้วทำการปันส่วนภาษีซื้อตามสัดส่วน เช่น ภาษีซื้อค่าซื้อทรัพย์สินส่วนกลาง เช่น เครื่องใช้สำนักงาน เครื่องตกแต่ง สำนักงาน หรือวัสดุสิ้นเปลือง เป็นต้น ภาษีซื้อค่าใช้จ่ายส่วนกลาง เช่น ค่าสาธารณูปโภค ค่าโฆษณา หรือค่าซ่อมแซม เป็นต้น 2. กรณีการเฉลี่ยภาษีซื้อที่เกิดจากการก่อสร้างอาคาร โดยการประมาณการสัดส่วนการใช้พื้นที่อาคารแล้วทำการปันส่วนภาษีซื้อตามสัดส่วน เช่น ภาษีซื้อที่เกิดจากการก่อสร้างอาคารเพื่อใช้ในกิจการ VAT และ NON VAT เป็นต้น 3. กรณีการเฉลี่ยภาษีซื้อตามหลักเกณฑ์ที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด เราต้องคืนเงินให้กรมสรรพากร 4, 575 บาท

วิธีบันทึกปรับปรุงภาษีขาย – ภาษีซื้อ Case 1: กรณีภาษีขายมากกว่าภาษีซื้อ ในเดือนที่ภาษีขายมากกว่าภาษีซื้อ ผู้ประกอบการจดทะเบียนจะต้องชำระภาษีมูลค่าเพิ่มแก่กรมสรรพากร ดังตัวอย่างต่อไปนี้ เดือนพ. ย. 25XX กิจการค้าขายสินค้าไปทั้งสิ้น 120, 000 บาท และซื้อสินค้ามาเพื่อขายจำนวน 80, 000 บาท การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มจะเป็น ดังนี้ ภาษีขาย = 120, 000 x 7% = 8, 400 บาท ภาษีซื้อ = 80, 000 x 7% = 5, 600 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม = ภาษีขาย – ภาษีซื้อ ดังนั้นเดือน พ. กิจการจะต้องชำระภาษีมูลค่าเพิ่มให้แก่กรมสรรพากร = 8, 400 – 5, 600 = 2, 800 บาท และภายในวันที่ 15 ธ. ค. 25XX จะต้องนำเงินภาษีมูลค่าเพิ่มจำนวน 2, 800 บาท ไปยื่นชำระที่กรมสรรพากร 1. 1 วิธีการบันทึกโอนปิดบัญชีภาษีซื้อ ภาษีขายไปบัญชีเจ้าหนี้กรมสรรพากร คือ เข้าไปที่หน้าบัญชี >> บัญชีรายวัน >> สร้างและบันทึกได้ตามตัวอย่างด้านล่าง 1. 2 เมื่อมีการจ่ายชำระเงินให้แก่กรมสรรพากรสามารถบันทึกได้ตามตัวอย่างค่ะ Case 2: กรณีภาษีซื้อมากกว่าภาษีขาย ในเดือนที่ภาษีซื้อมากกว่าภาษีขาย ผู้ประกอบการจดทะเบียนสามารถขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่มจากกรมสรรพากร ดังตัวอย่างต่อไปนี้ เดือนพ.

  • แอ ป google หยุด ทํางาน
  • ตัวอย่างภาษีซื้อ
  • ตัวอย่างรายงานภาษีซื้อ Archives - แบบฟอร์ม
  • ความสัมพันธ์ของภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีซื้อ และภาษีขาย แบบไหนถึงขอคืนได้ | โปรแกรมบัญชีออนไลน์ FlowAccount

ยื่นภาษีซื้อเกิน เสียค่าปรับอย่างไร | Prosoft ERP

ถ้าพูดถึง ภาษีมูลค่าเพิ่ม หลายคนคงนึกถึงคำว่า VAT (Value Added TAX) ทันที แต่ถ้าให้นิยามความหมายของมันจริงๆ ผมคิดว่า ภาษีมูลค่าเพิ่ม คือภาษีที่เรียกเก็บจากการขายสินค้าหรือให้บริการ และการนำเข้า โดยปกติเราจะคุ้นเคยกับอัตรา 7% (กรณีขายสินค้าหรือบริการในประเทศ) และ 0% (กรณีการส่งออก) และหลายคนยิ่งคุ้นเคยกว่านั้น เพราะจะได้ยินคำพูดที่ว่า ถ้ามีรายได้จากการขายสินค้าหรือให้บริการเกินกว่า 1.

การจัดทำรายงานภาษีขาย เมื่อผู้ประกอบการที่เป็นผู้ขายและอยู่ในระบบมูลค่าเพิ่ม เรียกเก็บเงินจากลูกค้าจะต้องบวก ภาษีขาย หรือ VAT ขาย และผู้ประกอบการจะต้องนำส่ง ภาษีขาย ให้กรมสรรพากรก่อนวันที่ 15 ของเดือนถัดไป (ใบนำส่งภาษีที่กิจการต้องกรอก เรียกว่า แบบ ภ. พ. 30 หรือ แบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม เมื่อมีการขายสินค้ากิจการจะออกใบกำกับภาษีขายขึ้นซึ่งประกอบด้วย ต้นฉบับ = 1 + สำเนา = 5 รวมเป็น 6 ใบ) ต้นฉบับใบกำกับภาษี + สำเนา 1 ใบ ให้ลูกค้า ส่วนที่เหลือ 4 ใบ ใบแรกเก็บเข้าแฟ้ม ใบที่ 2 ทำบัญชีคุมสินค้า ใบที่ 3 บันทึกบัญชีในสมุดรายวันขาย ใบที่ 4 ทำรายงานภาษีขาย (เก็บเข้าแฟ้มรอไว้ และสรุปทำรายงานภาษีขายตอนสิ้นเดือน และ เตรียมเก็บเข้าแฟ้มบัญชี แฟ้มแรก เก็บสำเนาใบกำกับภาษีขาย เป็นรายเดือนโดยเรียงจากวันเริ่มบัญชีถึงวันที่ปัจจุบัน แฟ้มที่สอง เก็บบัญชีคุมสินค้า แฟ้มที่สาม สมุดรายวันขาย แฟ้มที่สี่ แฟ้ม ภ. 30 (รายงานภาษีขาย) ขั้นตอนการจัดทำรายงานภาษีขาย 1. เรียงเลขที่เอกสาร ตามเลขที่ เดือนที่ออกใบกำกับภาษี ปี 2013 เดือนมกราคม ตัวอย่าง 1301001 – 1301050 เดือน 2 1302051 – 1302090 2. ทุกครั้งที่มีการออกใบกำกับภาษี ให้นำสำเนาใส่แฟ้ม สิ้นเดือนนำมาสรุปรายงานภาษีขาย 3.

กรณีผู้มีหน้าที่เสียภาษียื่นแบบ ภ. พ. 30 ไว้ไม่ถูกต้องหรือมีข้อผิดพลาดเป็นเหตุให้จำนวนภาษีซื้อที่แสดงไว้คลาดเคลื่อนไป ทั้งนี้ ไม่ว่าจะได้ยื่นแบบแสดงรายการภาษีภายในกำหนดเวลาหรือยื่นแบบแสดงรายการภาษีเมื่อพ้นกำหนดเวลา จะต้องคำนวณเบี้ยปรับอย่างไร ขั้นตอนการคำนวณเบี้ยปรับ ดังนี้ 1. เบี้ยปรับกรณีจำนวนภาษีซื้อที่แสดงไว้คลาดเคลื่อนไปตามมาตรา 89(4) แห่งประมวลรัษฎากร ประกอบด้วยกรณีดังต่อไปนี้ กรณีแสดงจำนวนภาษีขายไว้ขาด และแสดงจำนวนภาษีซื้อไว้เกิน ให้คำนวณเบี้ยปรับ 1 เท่าของจำนวนภาษีขายที่แสดงไว้ขาด และคำนวณเบี้ยปรับอีก 1 เท่าของจำนวนภาษีซื้อที่แสดงไว้เกิน กรณีแสดงจำนวนภาษีขายไว้เกิน และแสดงจำนวนภาษีซื้อไว้เกิน ให้คำนวณเบี้ยปรับ 1 เท่าของจำนวนภาษีซื้อที่แสดงไว้เกิน กรณีแสดงจำนวนภาษีขายไว้ถูกต้อง และแสดงจำนวนภาษีซื้อไว้เกิน ให้คำนวณเบี้ยปรับ 1 เท่าของจำนวนภาษีซื้อที่แสดงไว้เกิน 2. เบี้ยปรับกรณีจำนวนภาษีที่ต้องเสียในเดือนภาษีคลาดเคลื่อนให้คำนวณเบี้ยปรับ 1 เท่าของจำนวนภาษีที่เสียคลาดเคลื่อนตามมาตรา 89(3) แห่งประมวลรัษฎากร (จำนวนภาษีที่เสียคลาดเคลื่อน คือ ผลต่างระหว่างจำนวนภาษีขายหักด้วยภาษีซื้อตามแบบแสดงรายการภาษีกับจำนวนภาษีขายหักด้วยภาษีซื้อที่พึงต้องเสียในเดือนภาษีนั้น) 3.

คำนวณแบบไหน? 7% ที่เก็บใครจ่าย?

30 เรียน คุณทวีสิน ได้ลองเปิดดูในโฟลเดอร์ 217-Training Record System หรือยังครับ ผมว่า ผมยังไม่ได้เอาเนื้อหาขึ้นเว็บนะ ในเว็บมีแค่เกริ่นๆ ยังไม่เป็นชิ้นเป็นอันเลย ส่วนในโฟลเดอร์ดังกล่าวนั้น สามารถใช้งานได้เลยในระดับหนึ่ง ซึ่งถ้าต้องการต่อยอด ก็น่าจะได้แนวทางบ้างแล้วครับ Samroeng unread, May 11, 2011, 5:53:05 AM 5/11/11 to ทวีสิน จุ้ยเริก unread, May 11, 2011, 10:59:29 AM 5/11/11 to อ. สำเริง ผมไม่เข้าใจ เรื่อง 219 - vlookup แสดงภาพ ครับ อาจารย์ บอกจะบอกสูตรแบบชัด ๆ ได้ไหมครับ และ รูป ต้องไป JPG. หรือ รูป แบบตัด มา Past -ขอบพระคุณมากครับ Sent: Wednesday, May 11, 2011 10:53 Subject: Re: [Excel4HR::1584] คุณทวีสิน วิธีเอารูปใส่ในคอมเมนท์ ดูวิธีการได้ที่ Sombat_J unread, Jul 17, 2012, 4:30:29 AM 7/17/12 to, pinee pinee อาจารย์ครับ.. อาจารย์ได้ปรับปรุง แบบ ภพ. 30 เป็น เลขประจำตัวผู้เีสียภาษี 13 หลัก (แบบ Excel) หรือยังครับ เมื่อ วันจันทร์ที่ 9 พฤษภาคม ค. ศ. 2011, 22 นาฬิกา 20 นาที 01 วินาที UTC+8, อ. สำเริง เขียนว่า: Nat Sawaengkarn unread, Feb 21, 2019, 3:20:09 PM 2/21/19 to Excel_for_HR สวัสดีครับ ทำไมเลขผู้เสียภาษีมี 10 หลักครับ เมื่อ วันจันทร์ที่ 9 พฤษภาคม ค.

Mon, 12 Sep 2022 19:24:08 +0000