สรุป ผล การ วิจัย คือ - บทที่5 สรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ

แสดงว่ารถไม่ได้วิ่งเลย หลักการแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัย การแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นการแปลความและตีความหมายข้อมูล เพื่อให้ผู้อ่านทราบว่าการวิจัยได้ข้อค้นพบอะไรบ้าง การแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูล มีดังนี้ 1. หลักการแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยทั่วไป 1. 1 การแปลผลใต้ตาราง นิยมใช้คำว่า "จากตารางที่... พบว่า หรือแสดงให้เห็นว่า" เพื่อเป็นการสรุปให้ผู้อ่านเห็นว่า ตัวเลขที่อธิบายใต้ตารางเป็นตัวเลขที่สรุปมาจากตารางที่กำลังกล่าวถึง โดยทั่วไปนิยมแปลผลใต้ตารางเพราะทำให้เข้าใจง่าย 1. 2 ควรแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูลหรือตัวเลขตามที่ปรากฏในตารางเท่านั้น ห้ามอภิปรายหรือสอดแทรกความคิดเห็นส่วนตัวเพิ่มเติมแต่อย่างใด 1. 3 การแปลผลจากตาราง ไม่ควรบรรยายค่าสถิติทุกค่าในตารางทำให้ยืดเยื้อและยาวเกินไปจนไม่น่าอ่าน ให้แปลเฉพาะประเด็นสำคัญ ๆ หรือข้อมูลที่โดดเด่นเป็นที่น่าสังเกต 1. 4 ใช้ภาษาที่อ่านและเข้าใจง่ายและชัดเจนในการแปลผลข้อมูล 1. 5 แปลผลให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การประเมินและสมมติฐาน (ถ้ามี) โดยพิจารณาว่าผลที่ได้พาดพึงถึงสิ่งใด ควรแปลในลักษณะใดจึงจะถูกต้อง 1. 6 การแปลผลด้วยสถิติอ้างอิง หากพบว่ามีนัยสำคัญทางสถิติให้แปลด้วยว่ามีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับใด เช่น.

บทที่5 สรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ

3 วิธีดำเนินการวิจัย (Materials & Methods) 2. 4 ผลการวิจัย (Result) 2.

การสรุปผลวิจัยต้องได้องค์ความรู้ใหม่ • ผลการวิจัยพบว่า ความต้องการของสถานประกอบการที่มีต่อบัณฑิตที่สาเร็จ การศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม ได้แก่ สถาน ประกอบการร้อยละ 82 ต้องการบัณฑิตที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในระดับ มาก สถานประกอบการขนาดเล็กต้องการบัณฑิตที่มีคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ในระดับพอใช้ การศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรมคือ สถานประกอบ ต้องการบัณฑิตที่มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ สุจริต ตั้งใจทางาาน ตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎและระเบียบของสถานประกอบการ แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มี สัมมนาคารวะและสู้งาน. 11. อภิปรายผล - อภิปรายรายข้อตามวัตถุประสงค์และผลการวิจัย - เกริ่นอ้างผลการวิจัยพร้อมบอกเหตุผลจากการทดสอบสมมติฐาน - กล่าวถึงประโยชน์ที่จะได้รับจากผลการวิจัย - กล่าวสนับสนุนผลการวิจัยของตนเอง - กล่าวสนับสนุนผลการวิจัยของตนเองด้วยงานวิจัยของคนอื่น ๆ - กล่าวถึงปัญหาและอุปกรณ์ที่พบในการวิจัย - แสดงข้อมูลการค้นคว้าที่สอดคล้องกับงานวิจัยของตนเอง - อ้างอิงเยอะ ๆ และอ้างวารสารของมหาวิทยาลัย (Citation) 12. วารสารภายใน มจพ. 13. ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะจากการวิจัย/การวิจัยครั้งต่อไป - ควรนาผลไปวิจัยต่อยอด - ควรนาผลไปศึกษาในวิธีใหม่ ข้อเสนอแนะเพื่อการนาไปใช้ประโยชน์ - ผลการวิจัยเป็นประโยชน์กับงานใด - ผลการวิจัยแก้ปัญหาในเรื่องใด - ผลการวิจัยเป็นแนวทางในการดาเนินงานใด * ข้อเสนอแนะในบทความวิจัยจะรวมอยู่กับอภิปรายผล 14.

การเขียนบทสรุปงานวิจัย

นักเรียนที่เรียนจากการสอนบทเรียนวีดิทัศน์แบบปฏิสัมพันธ์และนักเรียนที่เรียนจากการสอนปกติ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกัน 2. นักเรียนที่เรียนจากการสอนด้วยวีดิทัศน์แบบปฏิสัมพันธ์และนักเรียนที่เรียนจากการสอนปกติ มีความคิดสร้างสรรค์แตกต่างกัน สรุปผล 1. บทเรียนวีดิทัศน์แบบปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การออกแบบผลิตภัณฑ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มสาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 85. 45/83. 69 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนด้วยบทเรียนวีดิทัศน์แบบปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การออกแบบผลิตภัณฑ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าการสอนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ. 05 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนด้วยบทเรียนวีดิทัศน์แบบปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การออกแบบผลิตภัณฑ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี มีความคิดสร้างสรรค์สูงกว่าการสอนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ. 05 2. สรุปผลการวิจัย นิสิต นักศึกษาควรใช้ภาษาเขียนที่เป็นกลางหลีกเลี่ยงการใช้ความ คิดเห็นส่วนตัวมาสรุปในการบรรยายและหลีกเลี่ยงการตีความเอาเองในสรุปผลการวิจัย ตัวอย่างเช่น สรุปผลการวิจัยเดิม บทเรียนวีดิทัศน์แบบปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การออกแบบผลิตภัณฑ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 85.

  • การสรุปผล - การหาข้อมูลทางการตลาด
  • รวมเว็บสล็อต ฝาก 10 รับ 100 ล่าสุด
  • คอน โด ไทย ธานี
  • ของ ไฮเทค 2012 relatif
  • แอร์เซอร์กิตเบรกเกอร์(Air Circuit Breaker) คืออะไร
  • ส ส นครนายก
  • รีวิว CityGate Outlets ฮ่องกง สวรรค์นักช้อป - ลุงเด้ง ป้าไก่ กิน เที่ยวทั่วโลก
  • ดู หนัง balls of fury

สรุปและอภิปรายผล – โครงงานวิจัย

2 ตัวแปรตาม ได้แก่ความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษ 3. ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร 4.

การสรุปผล หมายถึง การรวบรวมผลวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้มีความหมายไว้แล้วมาเขียน สรุปเป็นข้อๆ เพื่อตอบปัญหาในการวิจัย การเขียนสรุปผลควรเขียนให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ในการวิจัยหรือสมมติฐานในการวิจัย และควรจะสอดคล้องกันเป็นข้อๆ เพื่อให้แน่ใจว่าได้สรุป ครบถ้วนสมบูรณ์ โดยหลักเกณฑ์ในการสรุปดังนี้ 1. การสรุปผลต้องตั้งอยู่บนฐานของหลักฐานต่างๆ ที่ได้จากข้อมูลเท่านั้น ไม่ใช่ความเห็น ของผู้วิจัยเข้าไปเกี่ยวข้อง 2. ต้องสรุปภายในขอบเขตของปัญหาการวิจัยที่นิยามไว้เท่านั้น 3. ต้องอาศัยการใช้เหตุผลชั้นสูงตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์

การสรุปผล - การหาข้อมูลทางการตลาด

69 สูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ในสมมติฐาน สรุปผลการวิจัยที่ปรับปรุงแล้ว บทเรียนวีดิทัศน์แบบปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การออกแบบผลิตภัณฑ์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มสาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี มีประสิทธิภาพเท่ากับ 85. 69 3. การสรุปผลการวิจัยควรใช้ภาษาที่ชัดเจนและรัดกุม บ่งบอกถึงการตอบคำถามของการวิจัยที่ชัดเจนหรือสมมติฐานของการวิจัยที่ตั้งไว้ในบทที่ 1 4. ควรสรุปภาพรวมของผลการวิจัย ไม่ควรยกผลการวิจัยทั้งหมดจากบทที่ 4 มาเขียนสรุปผลการวิจัยและอธิบายปลีกย่อยมากเกินไปจะทำให้สับสนผลการวิจัยได้ 5. กรณีที่ผลการวิจัยได้ผลเหมือนกัน นิสิต นักศึกษาสามารถรวมเป็นข้อเดียวกันก็ได้ เพื่อความกระชับในการเขียนสรุปผลการวิจัย ไม่จำเป็นต้องแยกข้อจนอ่านไม่เข้าใจ ทั้งที่สามารถรวมเป็นข้อเดียวได้ ดังตัวอย่าง จากผลการวิจัยบทที่ 4 พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 2 มีความพึงพอใจต่อสภาพการจัดกิจกรรมลูกเสือ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ. ศ. 2544 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงตามค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย 3 อันดับแรก คือ ด้านบุคลากร( = 4. 54) รองลงมาคือ ด้านการจัดกิจกรรม( = 4.

ผลการตรวจสอบคุณภาพรูปแบบการสอน โดยผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า รูปแบบการสอนมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับดีมาก ในด้านบรรยากาศความเป็นมา ความสำคัญ และความเหมาะสมของเหตุผลในการพัฒนารูปแบบ และมีคุณภาพระดับดี ในด้านความครอบคลุมและสอดคล้องกันขององค์ประกอบของรูปแบบ ส่วนคำแนะนำการใช้รูปแบบการสอน ผู้ทรงคุณวุฒิมีความเห็นว่ามีคุณภาพอยู่ในระดับปานกลาง 3. ผลการทดลองใช้รูปแบบการสอน 3. 1 นักเรียนกลุ่มทดลองมีความเข้าใจการอ่านภาษาอังกฤษผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 3 เกณฑ์ คือ 3. 1 มีคะแนนเฉลี่ยเข้าใจการอ่านภาษาอังกฤษจากการทดสอบสอบระหว่างสอนและหลังสอน สูงกว่าร้อยละ 60 ของคะแนนเต็ม 3. 2 มีคะแนนเฉลี่ยเข้าใจการอ่านภาษาอังกฤษจากการทดสอบสอบหลังสอน เพิ่มจากคะแนนเฉลี่ยก่อนสอน สูงกว่าร้อยละ 15 ของคะแนนเต็ม 3. 3 มีคะแนนเฉลี่ยเข้าใจการอ่านภาษาอังกฤษจากการทดสอบสอบหลังสอน เพิ่มขึ้นจากคะแนนเฉลี่ยก่อนสอนอย่างมีนัยสำคัญ 3. 2 นักเรียนกลุ่มทดลองมีพัฒนาขึ้นมีคะแนนเฉลี่ยความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษสูงกว่า นักเรียนกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ. 05 อภิปรายผล 1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการทดลองใช้รูปแบบการสอน พบว่านักเรียนกลุ่มทดลอง มีความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 3 เกณฑ์ แสดงว่ารูปแบบการสอนนี้ ช่วยพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการอ่านเพิ่มขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้รูปแบบการสอนที่สร้างขึ้นโดยมีทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการอ่าน และการอ่านเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวาง และมีองค์ประกอบการเรียนการสอนที่สอดคล้องสัมพันธ์กัน ซึ่งนักการศึกษาส่วนใหญ่เห็นว่าการสอนจะช่วยให้ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนได้ต้อองเป็นการสอนที่มีระบบที่ดี โดยมีทฤษฎีและแนวคิดเป็นฐานรองรับ 2.

สรุปงานวิจัย - GotoKnow

40 แปลว่า ตัวแปรสัมพันธ์กันระดับน้อย r มีค่า. 40 -. 60 แปลว่า ตัวแปรสัมพันธ์กันระดับปานกลาง r มีค่ามากกว่า. 60 แปลว่า ตัวแปรสัมพันธ์กันระดับมาก 3. หลักการแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงสถิติอ้างอิง 3. 1 หลักการแปลผลการทดสอบค่าที (t-test) 3. 1 โดยปกติการคำนวณโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์คำนวณ นิยมใส่ค่า Sig หรือ p ลงในตารางเพื่อให้ผู้อ่านเห็นว่า ถ้า p มีค่าเท่ากับหรือ <. 05 แปลว่ามีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ. 05 ถ้า p มีค่าเท่ากับหรือ <. 01 แปลว่ามีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ. 01 ถ้าผลการทดสอบมีนัยสำคัญ ต้องแปลว่ามีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ. 05 หรือระดับ. 01 และจะต้องใส่เครื่องหมาย * ที่ค่าสถิติ t และใส่ * ใต้ตารางเช่น *p<. 05 t (. 05, df 19) t = 1. 769 หรือ *p<. 05 หรือ * มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ. 05 เป็นต้น การแปลผล แสดงดังตารางที่ 1! [endif]--! [endif]-- จากตารางที่ 1 การทดสอบก่อนเผชิญและหลังเผชิญประสบการณ์ของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ การทดสอบประสิทธิภาพแบบภาคสนาม จำนวน 20 คน พบว่าทุกหน่วยประสบการณ์คะแนนเฉลี่ยเผชิญประสบการณ์สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเผชิญประสบการณ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.
การวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัยถือเป็นขั้นตอนที่สำคัญของกระบวนการวิจัย นักวิจัยจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องดังกล่าว เพื่อจะได้สรุปผลการวิจัยได้อย่างถูกต้อง ข้อมูลเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล การจำแนกประเภทของข้อมูลขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ดังนี้ 1. การแบ่งตามลักษณะข้อมูล แบ่งได้เป็น (Quantitative data) เป็นข้อมูลที่อยู่ในรูปของตัวเลขตามค่าที่ปรากฎ อาจเป็นตัวแปรค่าต่อเนื่อง เช่น คะแนน อายุ รายได้ น้ำหนัก ส่วนสูง หรืออาจเป็นตัวแปรที่ไม่ต่อเนื่องหรือตัวแปรค่าขาดตอนก็ได้ เช่น จำนวนนับ จำนวนคน ซึ่งเป็นตัวแปรที่ได้จากการนับหรือหาความถี่นั่นเอง 1. 2 ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative data) เป็นข้อมูลที่แสดงคุณลักษณะที่ไม่เป็นตัวเลข เช่น เพศ ระดับการศึกษา ภูมิลำเนา อาชีพ ข้อมูลประเภทนี้จะจำแนกออกเป็นประเภทหรือกลุ่ม เช่น เพศ ชาย-หญิง ระดับการศึกษาแบ่งเป็นระดับปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก เป็นต้น ข้อมูลเชิงคุณภาพยังครอบคลุมถึงคำถามปลายเปิดต่าง ๆ ด้วย 2. การแบ่งตามแหล่งที่มาของข้อมูล หมายถึง ข้อมูลที่เป็นแหล่งแรกหรือต้นกำเนิด เป็นข้อมูลที่ไม่มีผู้ใดรวบรวมหรือทำการเผยแพร่มาก่อน นักวิจัยจะต้องเป็นผู้ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งโดยตรง เช่นการสอบถาม การสัมภาษณ์ การออกเก็บข้อมูลภาคสนาม การสังเกต เป็นต้น หมายถึง ข้อมูลที่มีการเก็บรวบรวมไว้แล้ว เช่น บันทึกในเอกสาร รายงานต่าง ๆที่นักประเมินสามารถคัดลอกมาใช้ในการประเมินหลักสูตร แต่ข้อมูลประเภทนี้มีข้อจำกัดคือความครบถ้วน สมบูรณ์ของข้อมูลอาจไม่เป็นไปตามที่นักวิจัยต้องการ เนื่องจากข้อมูลทุติยภูมิ สามารถนำมาใช้อ้างอิงเพื่อใช้ประโยชน์เฉพาะเรื่องเท่านั้น 3.
Mon, 12 Sep 2022 19:06:11 +0000